วัย 20+ เริ่มต้นดี…ชีวิตไม่มีติดลบ

บทที่ 1 เป้าหมายชีวิต = เป้าหมายการเงิน การจัดการทางการเงินเริ่มจากมองหาเป้าหมายของชีวิตที่เราต้องการ เนื่องจากเป้าหมายในชีวิตที่เราต้องการนั้นสัมพันธ์กับการเงินเพราะในแต่ละช่วงชีวิตของเราล้วนต้องใช้เงิน เป้าหมายชีวิตของแต่ละคนและในแต่ละช่วงก็แตกต่างกัน โดยสามารถแบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือระยะสั้น 0-2 ปี เช่นท่องเที่ยว ระยะกลาง 2-5 ปี เช่น สร้างครอบครัว ดาวน์รถ/คอนโค/บ้าน ระยะยาว 5 ปีขึ้นไปเช่น เกษียณ การบริหารจัดการเงิน – แบบ 1 รายได้ = รายจ่าย – แบบ 2 รายได้ = ค่าใช้จ่าย + ออม – แบบ 3 รายได้ = ค่าใช้จ่าย + ออม + ลงทุน – แบบ 4 รายได้ < […]

เมืองไทย พรีเมียร์ เลกาซี่ 99/10, 99/5

 อายุรับประกันภัย : 30 วัน – 70 ปี  ระยะเวลาคุ้มครอง : ครบอายุ 99 ปี   ระยะเวลาชำระเบี้ย : 10 ปี, 5 ปี รายละเอียดแผน ทุนประกันสูงเริ่มต้น 10,000,000 บาท คุ้มครองถึงอายุ 99 ปี จ่ายเบี้ย 10 ปี หรือ 5 ปี สุขภาพดีได้ส่วนลดเบี้ยประกัน เหมาะสำหรับ หัวหน้าครอบครัว สร้างหลักประกันให้คนข้างหลัง เจ้าของธุรกิจ สร้างความคุ้มครองธุรกิจให้ดำเนินต่อได้อย่างต่อเนื่อง ในวันที่เจ้าของจากไป ผู้ที่ต้องการวางแผนมรดก ช่วยบริหารภาษี ส่งต่อทรัพย์สินอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งต่อความมั่งคั่งจากรุ่น….สู่รุ่นอย่างไม่สดุด ด้วยการวางแผนมรดก การวางแผนมรดกที่จะช่วยส่งต่อความมั่งคั่งจากรุ่นสู่รุ่นอย่างไม่สะดุดและยังช่วยให้คุณมั่นใจได้ว่าทรัพย์สินของคุณจะได้รับการสืบทอดไปให้กับคนที่ต้องการ ซึ่งหากไม่มีการไม่วางแผนมรดกอาจจะเกิดปัญหาได้ เช่น เกิดปัญหาการแบ่งทรัพย์สินไม่ลงตัว ส่งต่อทรัพย์สินไม่เป็นไปตามที่ต้องการ ใช้เวลานานในการพิสูจน์ทายาทตามกกฏหมาย ไม่สามารถบริหารจัดการภาษีได้ ขั้นตอนการวางแผนมรดก รู้สถานะการเงินของตัวเอง โดยจัดทำบัญชีทรัพย์สินอย่างละเอียด และวางแผนจัดสรรว่าส่วนใดที่จะนำไปไว้ใช้ในบั้นปลายชีวิตและส่วนในที่จะต้องนำไปวางแผนมรดกเพื่อส่งต่อให้ลูกหลาน […]

เมืองไทย 8555 จี 20 (บำนาญแบบลดหย่อนได้)

 อายุรับประกันภัย : 20-55 ปี  ระยะเวลาคุ้มครอง : ครบอายุ 85 ปี   ระยะเวลาชำระเบี้ย : 60 ปี ทำได้ตั้งแต่อายุ 20 – 50 ปี รับเงินบํานาญตั้งแต่อายุ 55 – 85 ปี (รวม 31 ปี) รับเงินบำนาญคืนปีละ 24% เลือกรับเงินบำนาญแบบรายปีหรือรายเดือนก็ได้ ลดหย่อนภาษีได้ รับรองเงินบำนาญที่จ่าย 20 ปี ตัวอย่างตารางผลประโยชน์ เพศชาย อายุ 35 ปี เบี้ยประกัน 49,912 บาทต่อปี จำนวนเงินเอาประกันภัย 250,000 บาทและเพิ่มขึ้น 20% ทุกปี (เงินประกันที่ได้กรณีเสียชีวิต) รับเงินคืน 24% คิดเป็นปีละ 60,000 บาท ตั้งแต่อายุ 60-85 ปี […]

เมืองไทย 9960 (บำนาญแบบลดหย่อนได้)

 อายุรับประกันภัย : 20-55 ปี  ระยะเวลาคุ้มครอง : ครบอายุ 99 ปี   ระยะเวลาชำระเบี้ย : 60 ปี ทำได้ตั้งแต่อายุ 20 – 55 ปี รับเงินบํานาญตั้งแต่อายุ 60 – 99 ปี รับเงินบำนาญคืนปีละ 12% เลือกรับเงินบำนาญแบบรายปีหรือรายเดือนก็ได้ ลดหย่อนภาษีได้ รับรองเงินบำนาญที่จ่าย 10 ปี ตัวอย่างตารางผลประโยชน์ เพศชาย อายุ 35 ปี เบี้ยประกัน 29,740 บาทต่อปี จำนวนเงินเอาประกันภัย 500,000 บาท (เงินประกันที่ได้กรณีเสียชีวิต) รับเงินคืน 12% คิดเป็นปีละ 60,000 บาท ตั้งแต่อายุ 60-99 ปี รวมเงินคืนทั้งหมดกรณีอยู่ครบสัญญา  2,400,000  บาท Q: ใครที่สามารถทำประกัน […]

4 ไอเดีย ได้ภาษีคืนปีนี้ เอาไปต่อยอดลดหย่อนยังไงดี

ช่วงต้นปีแบบนี้หลายคนน่าจะกำลังเริ่มยื่นภาษี หรือหลายคนยื่นภาษีเรียบร้อยอาจจะต้องจ่ายเพิ่มและบางคนก็ได้เงินได้เงินคืนแล้ว หลายคนได้เงินภาษีมาก็อาจจะแพลนเตรียมไว้แล้ว บางคนอาจจะเตรียมไว้หาตัวช่วยหรือเอาไว้ลดหย่อนของปีภัดไปเลยจะได้ไม่ต้องเก็บเงินเพิ่ม คนที่ไม่เคยวางแผนเรื่องการจ่ายภาษีมาก่อนอาจต้องกุมขมับเมื่อเห็นภาษีที่ต้องจ่าย ยิ่งเงินได้เยอะก็ยิ่งเสียภาษีเยอะ จะดีกว่าไหมหากสามารถลดหย่อนภาษีที่ต้องจ่ายและยังได้ประโยชน์เพิ่ม โดยเริ่มตั้งแต่ต้นปีเลย 1. ทำประกันชีวิต ลดหย่อนภาษีได้สูงสุดถึง 100,000 บาท และปัจจุบันก็มีให้เลือกหลายประเภท เช่น เน้นการคุ้มครองชีวิต เน้นการออม เน้นคุ้มครองสุขภาพและอุบัติเหตุ การทำประกันชีวิตนั้นยังถือเป็นการสร้างเงินก้อนให้ลูกหลาน กรณีที่เสียชีวิตไปแล้ว บางประเภทยังมีเงินคืนให้ทุกปีอีกด้วย คุ้มสุดๆ 2. ทำประกันสุขภาพ ประกันสุขภาพตัวเองลดหน่อยภาษีได้สูงสุดถึง 25,000 บาท และหากซื้อให้บิดา มารดาลดได้อีกสูงสุด 15,000 บาท การมีประกันสุขภาพถือเป็นหลักประกันให้คุณหมดห่วงเรื่องค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในตอนนี้ที่ค่ารักษาพยาบาลแพงจนน่าตกใจ ยิ่งสำหรับในผู้สูงอายุการมีประกันสุขภาพถือเป็นสิ่งจำเป็นมากๆ แต่ทั้งนี้ควรทำตั้งแต่เนิ่นๆ เพื่อไม่ให้มีการยกเว้นโรค 3. ซื้อกองทุน ทั้งแบบ RMF ที่เป็นกองทุนเพื่อเกษียณอายุ ลดได้ 30% สูงสุดไม่เกิน 500,000 บาท และ SSF ที่เป็นกองทุนส่งเสริมการออมในระยะยาว ลดหย่อนได้ 30% สูงสุดไม่เกิน 200,000 บาท นอกจากจะได้ลดหย่อนภาษี […]

1 2 3 56